วันเสาร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 15 วันอังคาร ที่ 27 กันยายนพ.ศ.2554

วันนี้อาจารย์ได้พูดถึงความรู้ที่ได้รับจากวิชานี้




  • ความหมายของวิทยาศาสตร์


  • สื่อวิทยาศาสตร์


  • ทักษะด้านวิทยาศาสตร์


  • ของเล่นวิทยาศาสตร์


  • โครงการวิทยาศาสตร์


  • การจัดนิทรรศการ


  • การจัดกิจกรรม


  • การเขียนแผนการจัดการเรียนวิทยาศาสตร์


  • การประเมินทางวิทยาศาสตร์

ครั้งที่ 14 วันอังคาร ที่ 20 กันยายน พ.ศ.2554

วันนี้อาจารย์นั้นให้ส่งแผนการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์ส่งและอาจารย์นั้นได้บอกข้อผิดพลาดและให้นำกลับไปแก้ไขปรับปรุง


  1. วัถตุประสงค์


  • บอกส่วนประกอบต่างๆ

  • บอกลักษณะ

2. ประสบการณ์สำคัญ



  • ทักษะด้านการสังเกต

  • ทักษะด้านการวัด

  • ทักษะการจำแนก

  • ทักษะการสื่อความหมาย

3. สาระสำคัญ



  • ชื่อเรื่อง/ หน่วย

4. การจัดกิจกรรม



  • ขั้นนำ

  • ขั้นสอน

  • ขั้นสรุป



ครั้งที่ 13 วันอังคาร ที่ 13 กันยายน พ.ศ.2554

วันนี้อาจารย์นั้นได้สั่งให้เขียนแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้





  1. สาระการเรียนรู้





  • สิ่งที่อยู่รอบตัว


  • เรื่องราวที่เกี่ยวกับเด็ก


  • รรมชาติ


  • บุคคลสถานที่



2. ประสบการณ์สำคัญ






  • ด้านร่างกาย


  • ด้านอารณ์ จิตใจ


  • ด้านสังคม


  • ด้านสติปัญญา

3. ทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์



  • ทักษะการจำแนก

  • ทักษะการสังเกต

  • ทักษะการสื่อความหมาย

  • ทักษะการคำนวณ

  • ทักษะการวัด

  • การสเปสกับเวลา

จากนั้นอาจารย์ก็ให้การบ้านไปเขียนแผนการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์ ให้กลุ่มละ 5 คน


โดยให้กลุ่มละ 1 แผนการสอน มาส่งอาทิตย์หน้า


ครั้งที่ 12 วันอังคาร ที่ 6 กันยายน พ.ศ.2554

วันนี้อาจารย์เปิ vdo เรื่องมหัศจรรย์น้ำ น้ำนั้นคือองค์ประกอบของมนุษณ์เรา เมื่อคนเรานั้นสูญเสียเหงื่อมาก หรือพลังงานภายในร่างกาย ดังนั้นคนเราควรที่จะรับประทานน้ำวันละ 8 แก้ว เป็นอย่างต่ำต่อ1 วัน


  • ร่างกายของคนเรานั้นจะต้องมีน้ำโดยประมาณ 70 %

  • ในผลไม้นั้นมีน้ำอยู่โประมาณ 90 %

และอูฐนั้นสามารถอยู่ได้โดยไม่กินน้ำได้นานถึง 10 วันสูงสุด เพราะอูฐนั้นมีบางส่วนของร่างกายก็คือ หลังที่สามาถเก็บน้ำได้ โดยที่ไขมันนั้นสามารถเปลี่ยนเป็นน้ำเพื่อนำมาหล่อเลี้ยงร่างกายได้


ขั้นตอนวิธีการทดลอง


การสาธิตการจมและการลอยของวัถตุในน้ำที่ย่อมมีความแตกต่างกันออกไประหว่าง น้ำเล่ากับ น้ำเกลือ



  • เมื่อเรานำแครอทที่หั่นไว้แล้วมา1 ชิ้น นำไปใส่ในน้ำเปล่า ผลปรากฏว่าแครอทนั้นจมอยู่ด้านล่าอีก

  • เมื่อเรานำแครอที่ที่มีอยู่อีกชิ้นหนึ่งที่เตรียมไว้ นำมาใส่ในน้ำเกลือ ผลนั้นปรากฏว่า แครอทนั้นสามารถลอยตัว นั้นอาจเป็นเพราะในน้ำเกลือมีความหนาแน่กว่าน้ำเปล่า

การสาธิตการการลอยตัวของเข็ม


เมื่อนำเข็มที่เตรียมไว้นั้นมาวางบนพื้นผิวน้ำผลปรากฏว่าเข็มนั้นสามารถลอยตัวได้ เพราะว่า วัตถุที่มีขนาดเล็กและไม่มีน้ำหนักมากจะสามารถลอยตัวบนพื้นผิวน้ำได้

ครั้งที่ 11 วันอังคาร ที่ 30 สิงหาคมพ.ศ.2554




ส่งของเล่นจากแกนกระดาษทิซชู่ ชื่อของเล่นคือตุ๊กตาใส่หมวก




อุปกรณ์








  • แกนกระดาษทิซชู่




  • กาว




  • กระดาษสี




  • หลอด




  • กระดาษแข็ง




วิธีเล่น แกว่งให้หมวกมาสวมที่หัวตุ๊กตาให้ได้





ความเป็นวิทยาศาสตร์คือ การแกว่งทำให้วัตถุหมุน เหมาะสำหรับเด็กโต

ครั้งที่ 10 วันอังคาร ที่ 23 สิงหาคมพ.ศ.2554

วันนี้อาจารย์สอนกิจกรรมแบบโครงการมีขั้นตอนตอนคือ



  • ปฎิบัติด้วยมือ

  • ปฎิบัติด้วยตา

  • ปฎิบัติด้วยหู

  • ปฎิบัติด้วยจมูก

  • ปฎิบัติด้วยลิ้น

กาสร้างความคิดสร้างสรรค์



  • คิดยืดหยุ่น

  • คิดละเอียดละออ

  • คิดคล่องแคล่ว

  • คิดเร็ว

หลักในการจัดกิจกรรม



  • มีความสอดคล้องกับพัฒนาการเด็ก

  • มีความหลากหลายและน่าสนใจ

ด้านเนื้อหา



  • ต้องมีเนื้อหาสอดคล้องกับการเรียนการสอน

  • เป็นเรื่องใกล้ตัว

ลำดับขั้นตอน



  • ขั้นนำ

  • ขั้นสอน

  • ขั้นสรุป

อาจารย์ได้สั่งให้ทำของเล่นจากแกนกระดาษทิซซู่ 2คนต่อหนึ่งชิ้นส่งวันอังคารหน้า

ครั้งที่ 9 วันอังคาร ที่ 16 สิงหาคมพ.ศ.2554

อาจารย์ให้ดูCD เรื่องมหัศจรรย์ของแสงและจดข้อความรู้ที่ได้ดู


  1. วัตถุทึบแสง ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ที่บนโลกเราเช่น อิฐ ไม้ หิน เหล็ก แม้กระทั่งตัวเรา

  2. วัตถุโปร่งแสง สามารถทะลุไปได้เป็นบางส่วนเท่านั้น สามารถมองเห็นสิ่งต่างๆที่อยู่ด้านหลังได้เลือนลาง

  3. วัตถุโปร่งใส เป้นวัตถุที่แสงผ่านไปได้หมด ทำให้เรามองเห็นสิ่งต่างๆที่อยู่ด้านหลังได้อย่างชัดเจน เช่น กระจกใส หรือพลาสติก

ครั้งที่ 8 วันอังคาร ที่ 9 สิงหาคมพ.ศ.2554

ไม่มีการเรียนการสอน

ครั้งที่ 7 วันอังคาร ที่ 2 สิงหาคมพ.ศ.2554









ของเล่นวิทยาศาสตร์ของข้าพเจ้าคือ"เป่าเต่าในราง"



อุปกรณ์



1.ลังกระดาษ



2.กาว



3.กระดาษพับเเป็นอะไรก้อได้



4.หลอด






วิธีการเล่น



ใช้หลอดเป่าเต่าตามรางโดยกำหนดเวลา ตัวไหนถึงเส้นชัยก่อนเป็นฝายชนะ






ความเป็นวิทยาศาสตร์



คือแรงลมไปกระทบกับวัตถุทำให้วัตถุเคลื่อนที่ไปข้างหน้า



ครั้งที่ 6 วันอังคาร ที่ 27 กรกฎาคา พ.ศ.2554

วันนี้อาจารย์ให้ส่งหลักการและเหตุผลที่เป็นงานเดี่ยวและสอนในหัวข้อ


  1. เรื่องเด็กปฐมวัยวัยมีความอยากรู้อยากเห็น

  2. วัยที่มีการพัฒนาด้านสติปัญญาสูงที่สุดของชีวิต

  3. แสวงหาความรู้ความสามารถแก้ไขปัญาหาได้ด้วยตัวเอง

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นสิ่งที่ทำให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหาเหตุผล แสวงหาความรู้ สามรถแก้ปัญหาได้ตามวัยของเด็ก ควรจัดกิจกรรมให้เด็กลงมือกระทำด้วยตนเองจากสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว

ครั้งที่ 5 วันอังคาร ที่ 19 กรกฎาคา พ.ศ.2554

อาจารย์ได้สรุปข้อความรู้และกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์ของแต่ล่ะกลุ่มได้แก่


  1. ไข่ลอยฟ้า

  2. แรงดันน้ำ

  3. ไข่ลอยในน้ำเกลือ

  4. ขวดเป่าลูกโป่ง

  5. การเดินทางของเสียง

  6. การเดินทางของแสง

หลังจากนั้นอาจารย์ได้ให้ไปเขียนหลักการและเหตุผลเป็นเรียงความเรื่อง ลด ละ เลิก บุหรี่และสิ่งเสพติดถวายพ่อหลวง 84 พรรษา


ทักษะการกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้แก่



  • ทักษะการสังเกต

  • ทักษะการจำแนก

  • ทักษะการวัด

  • ทักษะการสื่อความหมาย

  • ทักษะการลงความเห้นจากข้อมูล

  • ทักษะการหาความสัมพันธ์สเปสกับเวลา

  • ทักษะการคำนวณ

ครั้งที่ 4 วันอังคาร ที่ 12 กรกฎาคา พ.ศ.2554

อาจารย์ให้กลุ่มที่ยังไม่นำเสนอมานำเสนอในวันนี้ โดยเกิดข้อผิดพลาดในข้อความรู้ที่ได้จากการไปหาข้อมูลในหัวข้อที่ได้รับ และอาจารย์ยังให้ข้อแก้ไขปรับปรุงเรื่องที่ผิดพลาด

ครั้งที่ 3 วันอังคาร ที่ 2 กรกฎาคา พ.ศ.2554

วันนี้อาจารย์ให้นำเสนองานกลุ่มของตัวเองตามหัวข้อที่รับ กลุ่มของข้าพเจ้าได้หัวข้อ"กิจกรรมวิทยาศาสาตร์" คือการผสมสี มีทั้งหมด 3 กิจกรรม ได้แก่





  1. การพิมพ์สีโดยใช้อวัยวะส่วนต่างๆของร่างกาย


  2. การเป่าสี


  3. การพับสี


วิทยาสาสตร์ที่ได้คือ การเปลี่ยนแปลงของสีจากสีหนึ่งเป็นอีกสีหนึ่งโดยการนำแม่สีตั้งแต่สองสีขึ้นไปผสมกันจะเกิดเป็นสีใหม่



อาจารย์ให้กลุ่มที่ยังไม่เสนองานไปเสนองานในวันอังคารหน้า



ครั้งที่ 2 วันอังคาร ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ.2554

อาจารย์ได้เปิดเพลง"ไอน้ำ" และตั้งคำถาม 3 ข้อ


  1. ได้ข้อความรู้อย่างไร

  2. เป็นวิทยาสาสตรือย่างไร

  3. นำมาใช้ในการเรียนการสอนอย่างไร

อาจาย์ได้อธิบายความสำคัญของวิทยาศาสตร์


และอาจารยืได้สั่งให้ไปทำงานกลุ่มคือ



  • จิตวิทยาการเรียนรู้

  • แนวคิดการศึกษา

  • หลักการจัดประสบการณ์วิทยาศาสาตร์

  • กิจกรรมวิทยาศาสตร์

  • ของเล่นวิทยาสาศาตร์

  • ตัวอย่างวิทยาศาสตร์

กลุ่มของข้าพเจ้าได้ กิจกรรมวิทยาศาสตร์

ครั้งที่ 1 วันอังคาร ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ.2554

วันนี้เป็นวันเรียนวันแรก อาจารย์ได้อธิบายเกี่ยวกับรายวิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ซึ่งอธิบายความหมายเป็นหัวข้อในวิชา และอาจารย์ยังอธิบายเกี่ยวกับกับการทำบล็อกให้มีความสมบูรณ์ ทั้งการเขียนอนุทิน การทำรูปสไลด์ และลิ้งค์ต่างเอามาใส่ที่บล็อก